เจ้าที่ พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน
เจ้าที่ : น. พระภูมิ มักใช้เข้าคู่กันเป็น พระภูมิเจ้าที่.น. เทวดารักษาพื้นที่และหนทาง.
เจ้า :น. ผู้เป็นใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้า เช่น เจ้านคร เชื้อสายของกษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป บางแห่งหมายถึงพระเจ้าแผ่นดินก็มี เช่น เจ้ากรุงจีน ผู้เป็นเจ้าของ เช่น เจ้าทรัพย์ เจ้าหนี้ ผู้ชํานาญ เช่น เจ้าปัญญา เจ้าความคิด เจ้าบทเจ้ากลอน มักใช้เติมท้ายคําเรียกผู้ที่นับถือ เช่น พระพุทธเจ้า เทพเจ้า เทพารักษ์ เช่น เจ้าพ่อหลักเมือง.ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย สําหรับผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อยอย่างสุภาพหรือเอ็นดู เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น เจ้ามานี่ คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ มักใช้เข้าคู่กับคํา นั่น เป็น เจ้านั่น เช่น เจ้านั่นจะไปด้วยหรือเปล่า.น. คำนำหน้าชื่อเพื่อแสดงว่าเป็นเชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือ เช่น เจ้าดวงเดือน คํานําหน้าที่ผู้ใหญ่เรียกเด็กหรือผู้น้อย เช่น เจ้าหนู เจ้าแดง เจ้านี่.น. ผู้ค้าขายสิ่งของต่าง ๆ เช่น เจ้าผัก เจ้าปลา ลักษณนามหมายความว่า ราย เช่น มีผู้มาติดต่อ ๓ เจ้า.
ที่ : น. แหล่ง ถิ่น เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทํามาหากิน สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก ตําแหน่งที่ เช่น เอาแว่นวางไว้ที่โต๊ะ
ที่ดิน เช่น ซื้อที่ ขายที่ เช่าที่
ภาชนะ เครื่องใช้ เช่น ที่บูชา ที่นอน ที่เขี่ยบุหรี่
ลักษณนามบอกสถานที่หรือสิ่งของเป็นชุด ๆ เป็นต้น เช่น ที่นั่ง ๓ ที่อาหาร ๓ ที่. ส. คําใช้แทนคํานามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น คนที่ขยัน เด็กที่ฉลาด. ว. คํานําหน้าสังขยาบอกลําดับ เช่น ที่ ๑ ที่ ๒. บ. ใน ณ เช่น อยู่ที่บ้าน.
ผมจิตเมธ ผมเป็นเจ้าที่แต่ไม่ได้เป็นเทวดา ทำหน้าที่รักษาดูแลพื้นที่ บางทีก็ทำความสะอาด ทำอาหาร ทำสวน ปลูกข้าว หรือพาคนในบ้านไปโรงเรียน ผมเป็นเจ้าที่ที่ดีนะครับ ว่าไหม..
ลงเรื่อง Online ครั้งแรก 11 ธันวาคม 2552
หยุดอัพชั่วคราว 20 ธันวาคม 2563 - 5 กันยายน 2564
อัพเดทตอนใหม่ทุกวันจันทร์
ปิดเรื่อง 16 มกราคม 2566
ข้อความที่โพสจะต้องไม่น้อยกว่า {{min_t_comment}} ตัวอักษรและไม่เกิน {{max_t_comment}} ตัวอักษร
กรอกชื่อด้วยนะ
_________
กรอกข้อมูลในช่องต่อไปนี้ไม่ครบ
หรือข้อมูลผิดพลาดครับ :
_____________________________
ช่วยกรอกอีกครั้งนะครับ
กรุณากรอกรหัสความปลอดภัย
ความคิดเห็น